ต่อ เติม อาคาร พาณิชย์ ด้าน ข้าง

  1. กฎหมายในการต่อเติมอาคาร - Northlandd

การต่อเติมหรือดัดแปลงอาคาร จำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากทางราชการ ซึ่งผู้เป็นเจ้าของต้องไปขออนุญาตจากทางเขตเทศบาลหรืออบต. ของพื้นที่นั้นๆ แต่ก็มีต่อเติมบ้านโดยไม่ต้องขออนุญาต คือ 1. การดัดแปลงขนาดพื้นบ้าน การลดหรือการขยายเนื้อที่ของพื้นชั้นหนึ่งชั้นใด ให้มีเนื้อที่น้อยลง หรือมากขึ้น รวมกันไม่เกิน 5 ตารางเมตร โดยไม่ลดหรือเพิ่มจำนวนเสาหรือคาน 2. การดัดแปลงหลังคาบ้าน การลดหรือการขยายเนื้อที่ของหลังคา ให้มีเนื้อที่มากขึ้นรวมกัน ไม่เกิน 5 ตารางเมตร โดยไม่ลดหรือเพิ่มจำนวนเสาหรือคาน ส่วนการต่อเติมที่มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 5 ตารางเมตร จำเป็นต้องขออนุญาตจากทางราชการ นอกจากพิจารณาเรื่องขนาดพื้นที่ที่ต่อเติมแล้ว กฎหมายอาคารยังกำหนดระยะระหว่างอาคารหรือแนวเขตที่ดิน ดังนี้ 1. ทาวน์เฮ้าส์ต้องเว้นพื้นที่ว่างทางด้านหลังกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร ด้านหน้า 3 เมตร และให้อาคารพาณิชย์เว้นพื้นที่ว่างทางด้านหลังกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตรจากแนวเขตที่ดิน 2. ผนังด้านที่เปิดประตู หน้าต่าง ที่สูงไม่เกิด 9 เมตร ต้องอยู่ห่างจากเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 2 เมตร สำหรับ ที่สูงเกิน 9 เมตร ต้องห่าง 3 เมตร 3. ผนังที่ไม่มีช่องเปิด(ผนังทึบ)ต้องห่างจากเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 0.

กฎหมายในการต่อเติมอาคาร - Northlandd

  • โรง ไฟฟ้า พลังงาน ใต้ พิภพ
  • ต่อเติมอาคารพาณิชย์แบบนี้ผิดมั้ยคะ - Pantip
  • Adele someone like you แปล เพลง music
  • การ ปฐมพยาบาล เบื้องต้น มี อะไร บ้าง
  • ถ่ายทอด สด วอลเลย์ วัน นี้
  • กระชับผิวหน้า บอกลาความหย่อนคล้อยกับ ‘คุณหมอขนม-‘ ด้วยนวัตกรรมไหมโครงตาข่าย
  • เกม ตก ปลา ใน ตํา นาน

กรณีที่ก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร โดยไม่ยื่นขออนุญาตตามมาตรา 21 หรือมาตรา 39 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ. ศ. 2522 หรือกระทำการฝ่าฝืนข้อกฎหมายที่กำหนด ท่านสามารถแจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น(ถ้าเป็น อบต. ก็คือ นายก อบต. ถ้าเป็นเทศบาลก็คือ นายกเทศมนตรี) เข้าดำเนินการตรวจสอบได้ ตามอำนาจหน้าที่ ที่กำหนดไว้ในกฎหมายควบคุมอาคาร โดยขั้นตอนจะเป็นดังนี้ 1. ถ้าเป็นกรณีที่ก่อสร้างโดยไม่ได้รับอนุญาต แล้วมีความประสงค์จะยื่นขออนุญาตก่อสร้าง เบื้องต้นนั้น เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะต้องพิจารณาออกคำสั่ง ตามมาตรา 40ฯ เพื่อระงับการกระทำดังกล่าว(แบบ ค. 3) และระงับการใช้(แบบ ค. 4) และถ้าหากว่าการก่อสร้างดังกล่าว ตามมาตรา 40 ฯ สามารถแก้ไข ได้ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ก็มีอำนาจหน้าที่สั่งให้เจ้าของอาคารยื่นขออนุญาตตามมาตรา 21หรือแจ้งตามมาตรา 39 ทวิฯ ได้ตามระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งหากว่าเจ้าของอาคาร ไม่ได้ปฎิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 41 ฯ (ให้ยื่นแบบแก้ไข) เจ้าพนักงานท้องถิ่นก็ต้องออกคำสั่งให้รื้อถอน และถ้าไม่รื้อถอนตามคำสั่งมาตรา 42 ฯก็ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นปฎิบัติตามมาตรา 43ฯ ต่อไป การก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.

Sun, 25 Jul 2021 13:32:34 +0000